Saturday, April 20, 2024

วิกฤตศรัทธา…. ของตุรกี

เหตุผลที่ตุรกีได้กลายมาเป็นไฮไลต์ให้ดราม่ากันอีกรอบ เริ่มต้นมาจาก บทวิเคราะห์ของธนาคารกลางยุโรป ว่าให้ระวังหนี้ของแบงก์ในยุโรปที่มีหนี้ของภาคเอกชนตุรกีอยู่ไม่น้อย ผนวกกับกรณีข้อพิพาททางการเมืองระหว่างสหรัฐกับตุรกี

‘เด็กดื้อ’ ของ พาวเวิล คูโรดา & คาร์นีย์

ในความเป็นจริง นโยบายการเงินก็มิได้เป็นไปตามที่ตัวประธานต้องการเสมอไป เนื่องจากมักจะมีผู้มีความเห็นที่แตกต่างจากตัวประธานและกรรมการท่านอื่นๆ

ฟังมุมมองกรรมการเฟด ผ่านเลคเชอร์ Econ

ฟังเลคเชอร์ด้านเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นจากคริส วาลเลอร์ สมาชิกของคณะกรรมการธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟด ซึ่งต้องบอกว่าสามารถบอกอะไรบางอย่างเกี่ยวกับมุมมองของเฟดได้

เป้าหมายเศรษฐกิจ:‘เงินเฟ้อ’ หรือ ‘จีดีพีโต’ ดีกว่า?

ผู้นำประเทศของเราตั้งเป้าหมายให้อัตราเติบโตจีดีพีของเศรษฐกิจไทยเติบโต 5% ต่อปี เป็นเวลา 4 ปี ทำให้เกิดคำถามในใจผมขึ้นมาว่าการตั้งเป้าหมายทางเศรษฐกิจไทย ควรจะใช้แนวทาง ‘อัตราเงินเฟ้อเป็นเป้าหมาย’ หรือ ‘อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นเป้าหมาย’ น่าจะเหมาะสมกว่ากัน?

จีนกับสหรัฐ กรณีไต้หวัน: สู้กันแบบไหนและจบไหม?

โจ ไบเดน ผู้นำสหรัฐประกาศว่าจะขายอาวุธทางทหารมูลค่า 1.1 พันล้านดอลลาร์ ให้ไต้หวันเพื่อปกป้องตนเอง บทความนี้ จะขอตอบคำถามว่าความขัดแย้งระหว่างจีนกับสหรัฐ กรณีไต้หวัน จะสู้กันแบบไหน ผลกระทบต่อบ้านเราและลงเอยอย่างไร

เฟดจะเปลี่ยนโหมดแล้ว… จริงๆหรือ?

หลังจากตัวเลขเงินเฟ้อ CPI สหรัฐ ที่ออกมาล่าสุดที่ 7.7% ทำให้หลายคนชวนคิดไปถึงการหยุดขึ้นดอกเบี้ยของเฟดในต้นปีหน้า อีกทั้งมองว่าระดับอัตราดอกเบี้ยนโยบายสูงสุด (Terminal Rate) ของเฟดในรอบนี้ น่าจะอยู่ที่ไม่เกิน 5% บทความนี้ จะขอแชร์มุมมองในประเด็นดังกล่าว

มหากาพย์ ‘วิกฤตตุรกี’: ต้มยำกุ้งแบบ ‘หัวกลับ’?

ทำไม‘วิกฤตเศรษฐกิจตุรกี’: จึงคล้ายวิกฤตต้มยำกุ้งแบบ ‘หัวกลับ’ อ่านได้จากบทความนี้

ทำไม ‘แบงก์ชาติอังกฤษ’ น่าจะขึ้นดอกเบี้ยก่อนเพื่อน?

บทความนี้ จะพูดถึงปัจจัยต่างๆที่ทำให้มีการคาดกันว่า แบงก์ชาติอังกฤษน่าจะมีแรงกดดันให้จำเป็นต้องขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายก่อนประเทศพัฒนาแล้วอื่นๆ แน่นอนว่าต้องโฟกัสไปที่สถานการณ์อัตราเงินเฟ้อในอังกฤษ

“เงินเฟ้อจังหวะถัดไป” อาจลงยากขึ้นเพราะ…

อัตราเงินเฟ้อในจังหวะช่วงถัดไป ทำไมจึงมีความเป็นได้ที่จะลดลงโดยใช้ระยะเวลานานขึ้นมาก โดยหลายฝ่ายคาดว่าน่าจะต้องใช้เวลาไม่ต่ำกว่า 2-3 ปี?

เจรจามาราธอน… แห่งยุโรป

เจรจามาราธอน... แห่งยุโรป เหมือนทำท่าว่าการประชุมว่าด้วยเงินกองทุนฟื้นฟูเพื่อช่วยเหลือโควิดของยุโรป จะจบด้วยเงินช่วยเหลือแบบให้เปล่าที่ 3.9 แสนล้านยูโร สำหรับการเจรจาประเด็นเงินกองทุนขนาด 7.5 แสนล้านยูโร ซึ่งถือเป็นการเจรจาที่ใช้เวลายาวนานเป็นอันดับ 2 ในประวัติศาสตร์ของสภายุโรป โดยบทความนี้ จะขอกล่าวถึงความสำคัญ กลุ่มต่างๆ และประเด็นหลักสำหรับการประชุมในครั้งนี้ รวมถึงทิศทางของยุโรปว่ามีความเสี่ยงมากน้อยแค่ไหนในช่วงนี้ เริ่มจาก คำถามแรก คือทำไมกองทุนนี้ถึงมีความสำคัญกับยุโรป? คำตอบคือ หากประเมินผลกระทบจากโควิดต่อเศรษฐกิจ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างภูมิภาคต่างๆ จะพบว่ายุโรปถือเป็นภูมิภาคเดียวที่จีดีพีมีโอกาสจะหดตัวแบบตัวเลขสองหลัก ในขณะที่อัตราส่วนของมาตรการช่วยเหลือจากรัฐบาลและธนาคารกลางของยุโรปต่ำกว่าของทั้งสหรัฐและญี่ปุ่นกว่า 2 เท่าตัว โดยยุโรปมีการกระตุ้นเศรษฐกิจและการเงินส่วนใหญ่...

MOST POPULAR