Tuesday, May 14, 2024

ทำไม “ตลาดหุ้นสหรัฐพุ่ง” หลังเฟดขึ้นดบ. 0.5%?

บทความนี้ จะมองว่าเพราะเหตุใดทำไม “ตลาดหุ้นสหรัฐพุ่ง” หลังเฟดขึ้นดบ. 0.5%?

‘เฟด’ บนความต่างระหว่าง เจย์ พาวเวล กับ เลอัล แบร์นาร์ด

โจ ไบเดน ผู้นำสหรัฐได้เรียกตัว 2 คู่แข่งขัน ได้แก่ เจย์ พาวเวล ประธานเฟดท่านปัจจุบัน กับ เลอัล แบร์นาร์ด สมาชิกคณะกรรมการเฟด ตั้งแต่ปี 2014 เข้าสัมภาษณ์ที่ทำเนียบขาว บทความนี้ จะขอพูดถึงความแตกต่างระหว่างทั้งคู่ ในประเด็นที่เกี่ยวกับมิติต่างๆในการดำรงตำแหน่งประธานธนาคารกลางสหรัฐ

โลก Supply Side แห่งผู้ว่าแบงก์ชาติอังกฤษ

เจย์ พาวเวล  ประธานเฟด ไม่เชื่อว่านโยบายการเงินจะมีผลต่อปัจจัยฝั่งอุปทาน ทว่า แอนดริว ไบร์เลย์ ผู้ว่าการธนาคารกลางอังกฤษกลับมีความเห็นที่แตกต่างออกไปอย่างไร ติดตามได้ในบทความนี้

“10 ข้อคิดสำหรับนักลงทุน” หลังประชุมเฟดแจ็คสันโฮล

บทความนี้ จะขอสรุปประเด็นหลักที่นักลงทุนควรต้องทราบ ภายหลังที่เจย์ พาวเวล ประธานธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟด กล่าวสุนทรพจน์สำคัญแห่งปี 2023 ในการประชุมนายธนาคารกลางชั้นนำของโลกที่แจ็คสันโฮล รัฐไวโอมิ่ง สหรัฐอเมริกา

เมื่อเจย์ พาวเวล : “ลดความแน่นอนของ QE Tapering

ถ้าจะมีประโยคเดียวที่จะสรุปผลการประชุมนัดสำคัญของธนาคารกลางสหรัฐหรือเฟด เมื่อคืนวันที่ 22 กันยายน 2021 คือ เจย์ พาวเวล ประธานเฟด กังวลว่าจะเกิดความวุ่นวายในตลาดหุ้นจากการลดการซื้อพันธบัตรสหรัฐหรือ Taper Tantrum เหมือนเมื่อปี 2013

Four Weddings & A Funeral ฉบับการเงิน

ได้อ่านหนังสือเล่มนี้แล้วนึกถึงภาพยนตร์อังกฤษในยุค 90 ที่มีชื่อว่า Four Weddings & A Funeral จากการที่ได้เล่าเรื่องราวของการนโยบายด้านการเงินในยุคต่างๆ จนนำมาถึงบทสรุปของเรื่อง

รัสเซียบุกยูเครน: นัยต่อจังหวะขึ้นดอกเบี้ยของเฟด

บทความนี้ จะโฟกัสไปที่นัยยะต่อจังหวะขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ ในปี 2022 จากเหตุการณ์ “รัสเซียบุกยูเครน”

‘เงินเฟ้อ’ ช็อตต่อไป… ในมุมของไอเอ็มเอฟ

หากไม่นับศึกช้างชนช้างคู่หยุดโลกระหว่างจีนกับสหรัฐแล้วนั้น ในปี 2022 คงไม่มีปัจจัยใดที่น่าจะมีความสำคัญต่อตลาดหุ้นและตลาดการเงินทั่วโลกได้ เท่ากับประเด็นของแนวโน้มเงินเฟ้อ บทความนี้ จะขอมองจากในมุมมองของไอเอ็มเอฟ

เมื่อโลกแห่งธนาคารกลาง… กำลังแบ่งเป็น 2 ขั้ว

หลังประชุมแบงก์ชาติหลักทั่วโลกกันครบแล้ว จะพบว่า ณ ตอนนี้ โลกแห่งธนาคารกลาง… กำลังแบ่งเป็น 2 ขั้ว ตามบทความนี้

โลกและโมเดลเศรษฐกิจ หลัง รัสเซียบุกยูเครน

แน่นอนว่า หลังสงคราม ‘รัสเซียบุกยูเครน’ ได้ทำให้ภาพและโมเดลของ ‘โลกเศรษฐกิจ’ จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป ทั้งในมุมการจับกลุ่มของตัวผู้เล่นหลักและโมเดลการแข่งขันของแต่ละผู้เล่นหลักด้วย ขอเริ่มจากการขยับปรับขั้วกันใหม่ของประเทศหลักต่างๆของโลกกันก่อนว่า จะมีหน้าตาเป็นอย่างไร? ในโลกก่อนสงครามที่เกิดขึ้นวันนี้ เราแบ่งโลกออกเป็น 2 ฝั่ง ได้แก่ หนึ่ง ฝ่ายที่เน้นเสรีนิยมหรือฝั่งพันธมิตรเก่า ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา ยุโรปหลักเกือบทั้งหมด ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย และอินเดีย ส่วนอีกฝั่ง คือ...

MOST POPULAR