Monday, April 29, 2024

รัสเซียบุกยูเครน: นัยต่อจังหวะขึ้นดอกเบี้ยของเฟด

บทความนี้ จะโฟกัสไปที่นัยยะต่อจังหวะขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ ในปี 2022 จากเหตุการณ์ “รัสเซียบุกยูเครน”

โลกและโมเดลเศรษฐกิจ หลัง รัสเซียบุกยูเครน

แน่นอนว่า หลังสงคราม ‘รัสเซียบุกยูเครน’ ได้ทำให้ภาพและโมเดลของ ‘โลกเศรษฐกิจ’ จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป ทั้งในมุมการจับกลุ่มของตัวผู้เล่นหลักและโมเดลการแข่งขันของแต่ละผู้เล่นหลักด้วย ขอเริ่มจากการขยับปรับขั้วกันใหม่ของประเทศหลักต่างๆของโลกกันก่อนว่า จะมีหน้าตาเป็นอย่างไร? ในโลกก่อนสงครามที่เกิดขึ้นวันนี้ เราแบ่งโลกออกเป็น 2 ฝั่ง ได้แก่ หนึ่ง ฝ่ายที่เน้นเสรีนิยมหรือฝั่งพันธมิตรเก่า ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา ยุโรปหลักเกือบทั้งหมด ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย และอินเดีย ส่วนอีกฝั่ง คือ...

รัสเซียบุกยูเครน: เกมสั้นหรือยาว & ใครได้/เสีย?

อย่างที่ผมได้เขียนบทความ “รัสเซียบุกยูเครน : ความเสี่ยงใหญ่ที่ไม่เกินจริง”เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2021 ที่ผ่านมา มองว่า รัสเซียเตรียมบุกยูเครนในเร็ววัน ผ่านมา 10 สัปดาห์ มาประเมินว่าเมื่อบุกแล้ว เกมสั้นหรือยาว และ ใครได้/ใครเสีย?

ภาพเศรษฐกิจ & การลงทุน ครึ่งหลังปี 2021

เมื่อก้าวมาถึงกลางปี 2021 ได้เวลามาพิจารณาภาพเศรษฐกิจและการลงทุนของโลก สำหรับในช่วงครึ่งหลังปี 2021 หลังจากที่ผมเคยคาดการณ์เมื่อต้นปีนี้ ว่าตลาดของประเทศพัฒนาแล้วน่าจะดูดีกว่าตลาดเกิดใหม่ ในครึ่งแรกของปี 2021 ซึ่งก็เป็นจริงในเวลาต่อมา

เศรษฐกิจและกองทุนหุ้นอินเดีย ในยุค COP26

ภาพเศรษฐกิจอินเดีย ณ ช่วงเวลานี้ มีจุดเด่นอยู่หลายประการ รวมถึงมีกองทุนรวมในบ้านเราที่ถือว่าน่าสนใจอยู่ไม่น้อย

ทำไม ‘แบงก์ชาติอังกฤษ’ น่าจะขึ้นดอกเบี้ยก่อนเพื่อน?

บทความนี้ จะพูดถึงปัจจัยต่างๆที่ทำให้มีการคาดกันว่า แบงก์ชาติอังกฤษน่าจะมีแรงกดดันให้จำเป็นต้องขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายก่อนประเทศพัฒนาแล้วอื่นๆ แน่นอนว่าต้องโฟกัสไปที่สถานการณ์อัตราเงินเฟ้อในอังกฤษ

QT น่ากังวลกว่า Recession ณ ตรงนี้

บทความนี้ จะใช้ทฤษฎีและกลไกข้างในของปฏิบัติการของเฟด เพื่อประเมินว่าเพราะเหตุใด QT จึงน่ากังวลกว่า Recession ณ ตรงนี้

ลงทุนอย่างไร หากนโยบายการเงินไทยผ่อนคลายกว่าเดิม?

บทความนี้ จะขอเสนอมุมมองว่าเหตุใดแนวทางการใช้นโยบายการคลังแบบเข้มข้น จึงได้รับความนิยมจากวงการวิชาการในช่วงนี้ ท้ายสุด จะคาดการณ์ท่าทีต่อไปของนโยบายการเงินแบงก์ชาติต่อวิกฤตโควิด รวมถึงมองว่าควรลงทุนในเซกเตอร์ไหนและหุ้นใดสำหรับตลาดหุ้นไทยในช่วงถัดไป

ทำไม ‘ค่าเงินรูเบิล’ ถึงกลับมาแข็งค่า เท่าก่อนสงคราม?

บทความนี้ จะขอตอบคำถามดังกล่าวว่าเหตุใด‘ค่าเงินรูเบิล’ ถึงกลับมาแข็งค่า ท่ามกลางภายใต้การคว่ำบาตรต่อรัสเซียแบบที่รุนแรงและกว้างขวางอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน รวมถึงผลกระทบต่อภาคส่วนต่างๆ

เจย์ พาวเวล เผลอให้ ‘เงินเฟ้อ’ พุ่ง เพราะ…

เจย์ พาวเวล ประธานธนาคารกลางสหรัฐให้การต่อสภาคองเกรสว่า ช่วงเวลาของการกระตุ้นเศรษฐกิจผ่านนโยบายการเงินของเฟดได้ผ่านพ้นไปแล้ว นอกจากนี้ ฝ่ายวิจัยของแบงก์ดังบางแห่งในสหรัฐ ยังขยับจำนวนครั้งการขึ้นดอกเบี้ยของเฟดในปีนี้ มาเป็น 4 ครั้ง บทความนี้ จะกล่าวถึงว่าเพราะเหตุใดพาวเวลถึงเผลอให้ ‘อัตราเงินเฟ้อ’ พุ่งขึ้นมาแบบรุนแรงมาก

MOST POPULAR