Thursday, May 16, 2024

มุมมองไอเอ็มเอฟ 2022 ต่อเศรษฐกิจสหรัฐและจีน

กองทุนการเงินระหว่างประเทศหรือไอเอ็มเอฟ เพิ่งออกรายงานมุมมองเศรษฐกิจโลกฉบับล่าสุด โดยลดประมาณการอัตราเติบโตของจีดีพีเศรษฐกิจโลกปีนี้เหลือ 4.4% ต่ำกว่าประมาณการครั้งก่อนเมื่อ 3 เดือนที่แล้ว ที่ 4.9% โดยโฟกัสที่เศรษฐกิจจีนและสหรัฐ

แบงก์ชาติญี่ปุ่น: โดดเดี่ยว…ผู้น่ารัก สำหรับนักลงทุน?

ธนาคารกลางญี่ปุ่น เป็นเพียงประเทศเดียวเท่านั้น ที่ยังคงอยู่ในโหมดการผ่อนคลายนโยบายการเงินเต็มตัว บทความนี้ จะขอตอบคำถามที่ว่าจะดำเนินการนำอัตราเงินเฟ้อกลับเข้าสู่จุดที่เป้าหมายร้อยละ 2 ได้อย่างไร

ทดสอบวิกฤต ‘สีเขียว’ ของ คริสติน ลาการ์ด

ปี 2021 เราได้เห็นความชัดเจนในมิติของเศรษฐกิจสีเขียวของโลกว่า ธนาคารกลางยุโรปหรืออีซีบีภายใต้การนำของ คริสติน ลาการ์ด ประธานอีซีบี กำลังจะเป็นธนาคารกลางแห่งแรกของโลกที่จะนำแนวคิด Green Economy มาประยุกต์ใช้

ความเสี่ยงแบงก์ตลาดเกิดใหม่ (ไทย) จากตราสารหนี้ภาครัฐ

บทความนี้ จะขอพูดถึงความเสี่ยงที่มีอยู่ของแบงก์ไทยซึ่งถือว่ามีความแข็งแแกร่งมาก หากเกิดวิกฤตตราสารหนี้ภาครัฐ

เจรจามาราธอน… แห่งยุโรป

เจรจามาราธอน... แห่งยุโรป เหมือนทำท่าว่าการประชุมว่าด้วยเงินกองทุนฟื้นฟูเพื่อช่วยเหลือโควิดของยุโรป จะจบด้วยเงินช่วยเหลือแบบให้เปล่าที่ 3.9 แสนล้านยูโร สำหรับการเจรจาประเด็นเงินกองทุนขนาด 7.5 แสนล้านยูโร ซึ่งถือเป็นการเจรจาที่ใช้เวลายาวนานเป็นอันดับ 2 ในประวัติศาสตร์ของสภายุโรป โดยบทความนี้ จะขอกล่าวถึงความสำคัญ กลุ่มต่างๆ และประเด็นหลักสำหรับการประชุมในครั้งนี้ รวมถึงทิศทางของยุโรปว่ามีความเสี่ยงมากน้อยแค่ไหนในช่วงนี้ เริ่มจาก คำถามแรก คือทำไมกองทุนนี้ถึงมีความสำคัญกับยุโรป? คำตอบคือ หากประเมินผลกระทบจากโควิดต่อเศรษฐกิจ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างภูมิภาคต่างๆ จะพบว่ายุโรปถือเป็นภูมิภาคเดียวที่จีดีพีมีโอกาสจะหดตัวแบบตัวเลขสองหลัก ในขณะที่อัตราส่วนของมาตรการช่วยเหลือจากรัฐบาลและธนาคารกลางของยุโรปต่ำกว่าของทั้งสหรัฐและญี่ปุ่นกว่า 2 เท่าตัว โดยยุโรปมีการกระตุ้นเศรษฐกิจและการเงินส่วนใหญ่...

ตลาดหุ้นจีน ครึ่งหลังปี 2022.. เอาไงต่อดี?

ในช่วงนี้ คำถามสุดฮิต คือ ตลาดหุ้นจีน ครึ่งหลังปี 2022 จะไปทางไหน และจะเอาอย่างไรต่อดี? ลองมาพิจารณาจุดเด่นและจุดด้อยของเศรษฐกิจและภาพรวมอื่นๆของจีนในบทความนี้กัน

เมื่อโลกแห่งธนาคารกลาง… กำลังแบ่งเป็น 2 ขั้ว

หลังประชุมแบงก์ชาติหลักทั่วโลกกันครบแล้ว จะพบว่า ณ ตอนนี้ โลกแห่งธนาคารกลาง… กำลังแบ่งเป็น 2 ขั้ว ตามบทความนี้

‘ออสเตรเลีย’ ต้นแบบใหม่ ‘นโยบายการเงินยุคโควิด’

ธนาคารกลางออสเตรเลียว่าถือเป็นต้นแบบในการนำพาเศรษฐกิจออสเตรเลียให้ออกมาจากสภาพเศรษฐกิจหดตัวเมื่อ 1 ปีที่แล้ว ได้ค่อนข้างดีเป็นอันดับต้นๆของโลก  รวมถึงตลาดหุ้นออสเตรเลียก็สามารถทะยานขึ้นสู่จุดที่ดัชนีไปแตะจุดสูงสุดตลอดกาล  เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น บทความนี้ จะขออธิบายว่าทำได้อย่างไร

เงินเฟ้อ vs. เฟด: ไม่ยากมาก แต่ต้องแยบคาย

บทความนี้จะวิเคราะห์ว่า ในปีนี้ ทิศทางของตัวปัญหาเงินเฟ้อและการแก้ปัญหานี้ จะออกมาในรูปแบบใด รวมถึงน่าจะมีผลอย่างไรต่อตลาดเงิน ค่าเงินดอลลาร์ และตลาดทุน

จาก BRICS สู่ BECII ในปี 2023

มาถึงวันนี้ ต้องยอมรับว่ามีเพียงบราซิล อินเดีย และ จีนเท่านั้นในกลุ่ม BRICS ที่ยังจะไปต่อ... จึงได้เวลาของกลุ่มใหม่ที่มีชื่อว่าว่ากลุ่ม BECII

MOST POPULAR