Monday, April 29, 2024

มหากาพย์ ‘วิกฤตตุรกี’: ต้มยำกุ้งแบบ ‘หัวกลับ’?

ทำไม‘วิกฤตเศรษฐกิจตุรกี’: จึงคล้ายวิกฤตต้มยำกุ้งแบบ ‘หัวกลับ’ อ่านได้จากบทความนี้

มุมมองการลงทุนปี 2022 บนเศรษฐกิจยุค 4D

ในปี 2022 ผมมองว่าทิศทางการลงทุนของโลกจะขับเคลื่อนอยู่บนเศรษฐกิจยุค 4D

วิกฤตเงินเฟ้อสหรัฐปี 2022 จะแรงและนานแค่ไหน?

ธนาคารกลางสหรัฐได้เริ่มขึ้นดอกเบี้ยนโยบายเป็นครั้งแรกหลังวิกฤตโควิดเพื่อสกัดเงินเฟ้อ บทความนี้ จะขอประเมินว่าในรอบนี้ วิกฤตเงินเฟ้อสหรัฐปี 2022 จะขึ้นมาแรงและยาวนานแค่ไหน รวมถึงน่าจะแก้ไขด้วยแนวทางใด?

‘นัย’ จากสัปดาห์การประชุมธนาคารกลางโลก

บทความนี้จะขอไล่เรียงไฮไลต์ รวมถึงนัยของเหตุการณ์ต่างๆในสัปดาห์พิเศษแห่งการประชุมธนาคารกลางหลักของโลก ที่มีอย่างครบถ้วนเพียงครั้งเดียวในปีนี้

ทำไม เจย์ พาวเวล เปลี่ยนโทน… ท่ามกลาง Omicron

บทความนี้ จะประเมินว่า เหตุใดเจย์ พาวเวล ประธานเฟดจึงต้องการจะแสดงจุดยืนหรือท่าทีของนโยบายการเงินออกมาในลักษณะที่ตึงตัวขึ้น ณ จุดที่โควิด Omicron กำลังเป็นปริศนาอยู่

รัสเซียบุกยูเครน: ความเสี่ยงใหญ่ที่ไม่เกินจริง

บทความนี้ จะขอตอบคำถามว่า ทำไมรัสเซียถึงต้องการบุกยูเครนในช่วงเวลานี้ ที่โควิดสายพันธุ์ใหม่กำลังเริ่มจะแพร่กระจาย? และ อะไรจะเกิดขึ้นหลังจากนี้ หากวลาดิเมียร์ ปูติน ตัดสินใจใช้กำลังทหารยึดยูเครนขึ้นมาจริงๆ

ทำไมตลาดหุ้นยุโรปถึงล้าหลังสหรัฐ?

ในวันนี้ ทุกอย่างเปลี่ยนไปเหมือนสิ่งที่ผมเคยประสบมาก่อนหน้าที่ว่าไป ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ผมขอย้อนรอยว่าจากเมื่อ 20 ปีที่แล้ว ตลาดหุ้นยุโรปได้ล้าหลังกว่าสหรัฐแบบแทบไม่เห็นฝุ่นได้อย่างไร?

‘ค่าเงินบาท’ จะอ่อนไปอีกแค่ไหน?

ในช่วงที่โควิด-19 กำลังพีคสุดๆ ในบ้านเรา ณ ตรงนี้ ยังมีอีกหนึ่งปรากฏการณ์เกิดขึ้น นั่นคือ ค่าเงินบาทที่อ่อนค่าแบบรวดเดียวอย่างรวดเร็วฉับพลัน บทความนี้ จะมองว่าค่าเงินบาทจะอ่อนสุดไปที่เท่าไหร่และเหตุผลที่ทำให้ค่าเงินบาทในช่วงนี้

รัสเซียบุกยูเครน: นัยต่อจังหวะขึ้นดอกเบี้ยของเฟด

บทความนี้ จะโฟกัสไปที่นัยยะต่อจังหวะขึ้นดอกเบี้ยของธนาคารกลางสหรัฐ ในปี 2022 จากเหตุการณ์ “รัสเซียบุกยูเครน”

โลกและโมเดลเศรษฐกิจ หลัง รัสเซียบุกยูเครน

แน่นอนว่า หลังสงคราม ‘รัสเซียบุกยูเครน’ ได้ทำให้ภาพและโมเดลของ ‘โลกเศรษฐกิจ’ จะไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป ทั้งในมุมการจับกลุ่มของตัวผู้เล่นหลักและโมเดลการแข่งขันของแต่ละผู้เล่นหลักด้วย ขอเริ่มจากการขยับปรับขั้วกันใหม่ของประเทศหลักต่างๆของโลกกันก่อนว่า จะมีหน้าตาเป็นอย่างไร? ในโลกก่อนสงครามที่เกิดขึ้นวันนี้ เราแบ่งโลกออกเป็น 2 ฝั่ง ได้แก่ หนึ่ง ฝ่ายที่เน้นเสรีนิยมหรือฝั่งพันธมิตรเก่า ในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา ยุโรปหลักเกือบทั้งหมด ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลีย และอินเดีย ส่วนอีกฝั่ง คือ...

MOST POPULAR